แสงสามารถเดินทางผ่านเส้นใยแก้วนำแสงได้อย่างไร
โครง
สร้าง
ของ
เส้น
ใย
แก้ว
นำ
แสง
มี
ส่วน
อย่าง
มาก
ใน
การ
ส่ง
ผ่าน
แสง โดย
แสง
ใน
เส้น
ใย
แก้ว
นำ
แสง
จะ
ถูก
ทำ
ให้
สะท้อน
กลับ
ไป
กลับ
มา
ระหว่าง
รอย
ต่อ
ของ
แกน
กลาง (core) และ
ฉนวน
ที่
หุ้ม (cladding) จาก
ปลาย
ข้าง
หนึ่ง
ไป
ยัง
อีก
ปลาย
ข้าง
หนึ่ง
ของ
เส้น
ใย
แก้ว
นำ
แสง
สาเหตุ
ที่
ต้อง
มี cladding หุ้ม
ส่วน
ของ core ไว้ ก็
เนื่อง
จาก
ว่า ถ้า
หาก core สัมผัส
กับ
อากาศ
โดย
ตรง อาจ
มี
สิ่ง
ปน
เปื้อน
ใน
อากาศ
หรือ คราบ
น้ำ
มัน
มา
เกาะ
จับ
ที่ core ซึ่ง
จะ
ทำ
ให้
การ
สะท้อน
กลับ
ของ
แสง
ภาย
ใน core ไม่
ดี เป็น
เหตุ
ให้
มี
การ
สูญ
เสีย
สัญญาณ
แสง
ขึ้น ดัง
นั้น
จึง
จำ
เป็น
ต้อง
มี cladding มา
หุ้ม
ไว้
เพื่อ
ป้อง
กัน
เหตุ
การณ์
ดัง
กล่าว นอก
จาก
นี้
แล้ว ถัด
จาก
ชั้น cladding ออก
มา
ก็
จะ
มี
ฉนวน
หุ้ม
อีก
ชั้น
หนึ่ง เพื่อ
เพิ่ม
ความ
แข็ง
แรง
ให้
เส้น
ใย
นำ
แสง
โค้ง
งอ
ได้
ด้วย
รัศมี
ค่า
หนึ่ง
โดย
ไม่
แตก
หัก
โดย
ทั่ว
ไป
เมื่อ
แสง
เดิน
ทางจาก
ตัว
กลาง
หนึ่ง
ไป
ยัง
อีก
ตัว
กลาง
หนึ่ง จะ
เกิด
ปรากฎ
การณ์
ของ
การ
สะท้อน (reflection) และ
การ
หัก
เห (refraction) ของ
แสง
ขึ้น
ที่
ผิว
รอย
ต่อ
ระหว่าง
ตัว
กลาง
ทั้ง
สอง ซึ่ง
สำหรับ
ใน
กรณี
พิเศษ
ที่
ตัว
กลาง
ที่
แสง
ตก
กระ
ทบ
มี
ค่า
ดัชนี
หัก
เหมา
กก
ว่า
ใน
อีก
ตัว
กลาง
หนึ่ง ( n
2
>n
1
; โดย n
1
คือ
ค่า
ดรรชนี
หัก
เห
ของ
แสง
ใน
ตัว
กลาง
ที่
แสง
หัก
เห และ n
2
คือ
ค่า
ดรรชนี
หัก
เห
ของ
ตัว
กลาง
ที่
แสง
ตก
กระ
ทบ) และ
มี
มุม
ตก
กระ
ทบ
ที่
พอ
เหมาะ
ก็
จะ
ทำ
ให้
เกิด
ปรากฎ
การณ์
ที่