โรคเถาเหี่ยว (ที่เกิดจากเชื้อราฟิวซาเรียม)
โรคเถาเหี่ยว (ที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย)
โรคราน้ำค้าง
แมลงศัตรูที่สำคัญ
แตงโม
ที่
เป็น
โรค
นี้
สี
ใบ
จะ
ซีด ใบ
และ
เถา
จะ
เหี่ยว
จริง
บริเวณ
โคน
เถา
ที่
ใกล้กับผิว
ดิน จะ
แตก
ตาม
ยาว
และ
มี
น้ำ
เมือก
ซึม
ออก
มา เมื่อ
ผ่า
ไส้
กลาง
เถา
ดู
จะ
เห็น
ภาย
ใน
เป็น
สี
น้ำ
ตาล โรค
นี้
จะ
ระบาด
มาก
ใน
ช่วง
แตงโม
ออก
ดอก การ
ปลูก
ซ้ำ
ที่เดิม โรค
นี้
จะ
ระบาด
รุน
แรง
มาก
เชื้อ
รา
นี้
เจริญ
และ
ทำลาย
แตงโม
ได้
ดี
ที่
อุณหภูมิ
ระหว่าง 24 - 27 องศา
เซลเซียส
ขณะแตง
กำลัง
เจริญ
เติบ
โต
มีผนตก
ติด
ต่อ
กัน
ยาวนาน
ดิน
มี
ธาตุ
ไนโตรเจน
อยู่
สูง แต่
มี
ธาตุ
ฟอสฟอรัส (P
2
O
5
) และโปแตสเซี่ยม (K
2
O) อยู่
ต่ำ
ดิน
เป็น
กรดจัด
อย่า
ปลูก
แตงโม
ซ้ำ
ที่เดิม
เริ่ม
คลุก
เมล็ด
พันธุ์
ด้วย
สาร
เคมีไดเทนเอ็ม -45 อัตรา 15 กรัม ต่อ
เมล็ด
พันธุ์ 1 กิโลกรัม ก่อน
นำ
ไป
ปลูก
ใช้
ปูน
ขาว
ใส่
ดิน
เพื่อ
แก้
ความ
เป็น
กรด
ของ
ดิน ใน
อัตรา
ไร่
ละ 500 กิโลกรัม
ใช้
สาร
เคมีไดเทน ที่
มี
ความ
เข้ม
ข้น 1 : 5 ฉีด
ที่
ต้น
พืช
จะ
ช่วย
ทำ
ให้
เชื้อ
โรค
ชะงัก
ลง
สาร
เคมี
กลุ่ม
พี
ซี
เอ็นบี เช่น เทอรา
คลอร์ ใน
อัตรา 60 ซี
ซี ผสม
น้ำ 20 ลิตร
ราด
ลง
ใน
หลุม
แตงโม
ที่
เกิด
โรค
และ
บริเวณ
ข้าง
เคียง
ทุก 7 วัน
ลักษณะ
ที่
มอง
เห็น
ใน
ครั้ง
แรก คือ ใบ
ใน
เถา
จะ
เหี่ยว
ลง
ที
ละ
ใบ การ
เหี่ยว
จะ
เหี่ยว
จาก
ปลาย
เถา
มา
หา
โคน
เถา
ใน
เถา
ใด
เถา
หนึ่ง เมื่อ
เหี่ยว
มา
ถึง
โคน
เถา
ก็
จะ
เหี่ยว
พร้อม
กัน
หมด
ทั้ง
ต้น แต่
ใบ
ยัง
คง
เขียว
อยู่ และ
พืช
ตาย
ใน
ทัน
ที
ที่
พืช
เหี่ยว
ทั้ง
ต้น
สาเหตุ
ของ
การ
เหี่ยว
ก็
คือ
เชื้อ
แบคทีเรีย
ไป
อุด
ท่อ
ส่ง
น้ำ
เลี้ยง
ใน
ต้น
แตงโม ถ้า
เอา
มีด
เฉือน
เถา
ตาม
ยาว
ดู
จะ
เห็น