โรคตะพาบน้ำ อีกเช่นเคย โดยมักมีสาเหตุส่วนใหญ่มาจากการจัดการที่ไม่เหมาะสม โรคที่จะ กล่าวถึงเป็นโรคที่ตรวจพบในตะพาบน้ำซึ่งเกษตรกรได้นำส่งตัวอย่างมายัง สถาบันวิจัยสุขภาพสัตว์น้ำ กรมประมง เพื่อการรักษา ทำให้อ่อนแอ ยอมรับการติดเชื้อได้ง่าย โดยความเครียดมีสาเหตุจาก เช่น ซัลฟาไตร เมทโทรพิม ออกซีเตตราชัยคลิน ไนโตฟูราน โตอิน หรือ นอร์ฟ๊อกซาซีน ผสมอาหารให้กินในอัตรา 1-5 กรัม ต่ออาหาร 1 กิโลกรัม แต่ถ้าตะพาบไม่กินอาหาร อาจใช้วิธีการฉีดยาปฏิชีวนะแล้วแช่เกลือ สภาพแวดล้อมภายในบ่อควบคู่ไปด้วย เช่น เปลี่ยนถ่ายน้ำหรือกำจัดดินเลน ก้นบ่อที่เน่าเสียทั่วไป เป็นต้น การรักษาจึงจะได้ผลดีและรวดเร็วขึ้น กระดอง การกินอาหารจะลดลง ส่วนใหญ่ตะพาบที่ติดเชื้อราถ้าเป็นในตะพาบใหญ่ มักจะไม่ตาย แต่การเจริญเติบโตจะช้าส่วนตะพาบเล็กอาจถึงตายได้ เนื่องจาก หลังการติดเชื้อรามักมีบาดแผลทำให้เชื้อแบคทีเรียเข้าสู่ร่างกายเกิดโรคแทรกซ้อน ทำให้ตะพาบตาย สาเหตุการเกิดเชื้อรามักเกี่ยวเนื่องกับพื้นบ่อที่สกปรก หรือ เน่าเสีย มาลาไคท์กรีนเข้มข้น 0.1-2 กรัม ต่อน้ำ 1 ลูกบาศก์เมตร (ตัน) นาน 2 - 3 วัน แล้วควรใส่ปูนขาวลงในบ่อในอัตรา 100 - 300 กิโลกรัม/บ่อขนาด 1 ไร่ ปรสิตภายใน แสดงอาการมีขนขึ้นทั่วตัวโดยสังเกตเห็นได้ชัดเมื่อนำตะพาบแช่น้ำลักษณะของ ขนที่ขึ้นตัว จะแตกต่างจากเชื้อรา คือจะมีขนาดใหญ่กว่า และสีขาวเหลือง หรือ ออกเขียว ขึ้นกับสภาพน้ำในบ่อ โรคนี้มักเกิดกับตะพาบที่บ่อเลี้ยงไม่สะอาด หรือ บ่อที่มีการนำผักตบชวาหรือพืชน้ำอื่นเข้ามาใสในบ่อเพื่อเป็นร่มเงา และที่กำบังให้ ตะพาบ ใช้เกลือ 0.5-1% (เกลือ 5-10กิโลกรัมต่อน้ำ 1 ลูกบาศก์เมตร) เปลี่ยนถ่าย น้ำทุกวัน หลังจากถ่ายน้ำให้ไหลใส่ฟอร์มาลิน หรือเกลือในระดับความเข้มข้นเดิม ทำซ้ำประมาณ 2-3 วัน ร้ายแรง โปรโตซัวจะอยู่ในทางเดินอาหาร ถ้ามีเป็นปริมาณมากจะทำให้ลำไส้ หรือกระเพาะอาหารทะลุ อาหารที่ตะพาบกินเข้าไปบางส่วนจะหลุดรอดรูบาดแผล ออกมา ทำให้เกิดการเน่าเสียภายในช่องท้อง ซึ่งมีผลให้ตะพาบตายได้ เมื่อตะพาบป่วยถึงขั้นทางเดินอาหารทะลุแล้วไม่สามารถรักษาให้หายได้ ดังนั้น จึงควรป้องกันไว้ก่อนโดยการให้ตะพาบกินยาถ่ายพยาธิเป็นประจำทุกเดือน โดยอาการเริ่มจากคอและขาบวมก่อนจากนั้นส่วนอื่นจึงบวมตาม ตะพาบจะซึม ไม่กินอาหาร ตะพาบที่ป่วยหนักจะมีการตกเลือดบริเวณหน้าท้อง และหน้าอกจะ ยุบลง จากการศึกษาของทางสถาบันวิจัยสุขภาพสัตว์น้ำพบว่าตะพาบที่ป่วยด้วย อาการดังกล่าวสามารถแยกเชื้อแบคทีเรียได้หลายชนิด ซึ่งอาการป่วยนี้จะมีไวรัส ร่วมอยู่ด้วยหรือไม่นั้นกำลังศึกษาวิจัยอยู่ ป้องกันการเกิดโรคจะช่วยลดอัตราการสูญเสียได้ ก้าวร้าว เมื่ออยู่รวมกันแน่นมาก ๆ จะกัดกัน ทำให้เกิดบาดแผลขึ้น ซึ่งอาจทำให้ เกิดการติดเชื้อแบคทีเรีย หรือเชื้อราตามมา ความเป็นกรดเป็นด่าง (pH)ควรอยู่ในช่วง 6.5-8.5 เนื่องจากตะพาบน้ำ จะชอบอยู่ในน้ำมากกว่าบนบก ดังนั้น เมื่อสภาพน้ำไม่เหมาะสมจะมีผลให้ตะพาบ อ่อนแอเกิดติดเชื้อได้ง่าย พื้นก้นบ่อจะเน่าเสีย เนื่องจากการสะสมของเศษอาหารที่ตะพาบกินไม่หมด รวมทั้งสิ่งขับถ่ายของตะพาบซึ่งสะสมอยู่ที่พื้นบ่อ ตะพาบน้ำมีอุปนิสัยชอบฝังตัว ในดิน เมื่อการเน่าเสียของพื้นบ่อเกิดขึ้นจึงมีผลกระทบต่อตะพาบโดยตรง เกลือช่วยได้ แต่เมื่อเน่าเสียมากขึ้น ควรจะย้ายตะพาบน้ำไปยังบ่อใหม่ที่มีการทำ ความสะอาดพื้นบ่อเรียบร้อยแล้ว ปลาที่ยังสดอยู่ ไม่ควรนำอาหารที่เน่าแล้วให้ตะพาบกิน ซึ่งอาจทำให้เกิดโรคใน ระบบทางเดินอาหารได้ เนื่องจากตะพาบน้ำกินอาหารสด ดังนั้นจึงมีโอกาสติดโรคพยาธิได้ง่าย ให้ยาฆ่าเชื้อและยาถ่ายพยาธิ เพื่อกำจัดแบคทีเรีย และพยาธิที่อาจติดมากับ ตะพาบน้ำ เป็นการป้องกันการแพร่เชื้อในบ่อตะพาบ ออกจากตะพาบปกติทันทีเพื่อป้องกันการลุกลามและการระบาดของโรค ให้ตะพาบ ก่อนนำมาใช้ในบ่อควรทำความสะอาดรากและใบให้ดี แล้วแช่ใน น้ำด่างทับทิมเข้มข้นเพื่อกำจัดปรสิตภายนอกที่อาจติดมากับรากและใบก่อน จากนั้นจึงล้างน้ำสะอาดอีกครั้งก่อนใส่ลงในบ่อ |