1. วิธีทางกายภาพ

เป็นการทำให้ลักษณะรูปร่างเปลี่ยนแปลงให้มีขนาดเล็กลง สัตว์จะได้กินได้มากอัตราการไหลผ่านของอาหารจากกระเพาะเร็วขึ้น
2. วิธีใช้สารเคมี
ซึ่งอาจมีผลทำให้ลักษณะรูปร่างและส่วนประกอบทางเคมีเปลี่ยนแปลงอาจทำให้สัตว์กินได้มากขึ้น
3. การใช้ร่วมกันระหว่างวิธีกายภาพ และสารเคมี
เช่นการสับ และบดร่วมกับสารเคมี
4. ใช้ยอดอ้อยร่วมกับอาหารเสริมโปรตีน
เช่นอาหารข้นและพืชตระกูลถั่วต่างๆ เช่น ใบกระถิน ใบมันสำปะหลัง เป็นต้น

ตารางแสดงส่วนประกอบทางเคมีของยอดอ้อยเปรียบเทียบกับฟางข้าว และหญ้ารูซี่ (%วัตถุแห้ง)
ชนิดอาหารหยาบ วัตถุแห้ง โปรตีน เยื่อใย NDF ADF ADL DMD
ยอดอ้อยสด 39.90 4.50 31.90 - - - -
อ้อยทั้งต้น 32.40 9.00 30.50 - - - -
ยอดอ้อยอบแห้ง 92.08 4.83 33.09 68.21 41.19 5.36 48.40
ฟางข้าว 92.50 3.60 35.30 74.50 45.90 3.60 46.0
ฟางข้าวหมัก
(5% ยูเรีย)
66.10 7.20 - 76.10 59.7 6.90 -
ฟางข้าวหมัก
(6% ยูเรีย)
57.10 8.80 37.0 - - - 51.50
หญ้าขน
(อายุ 30 วัน)
- 9.80 35.32 68.94 41.65 5.07 -
หญ้ารูซี่
(อายุ 45 วัน)
- 11.62 28.75 65.67 39.69 3.85 -
หญ้ารูซี่
(อายุ 60 วัน)
- 7.24 34.50 67.79 41.69 5.61 -