Warning: mysql_fetch_assoc(): supplied argument is not a valid MySQL result resource in E:\AppServ\www\eqsdara\includes\class.mysql.php on line 168
วิธีการประกันคุณภาพการศึกษา
[x] ปิดหน้าต่างนี้
Powered by ฝ่ายประกันคุณภาพการศึกษา โรงเรียนดาราวิทยาลัย :: EQSDara.dara.co.th

หน้าแรก บทความ ข่าว ติดต่อเรา เกี่ยวกับเรา  

หน้าแรก
ประวัติโรงเรียนดาราวิทยาลัย
ฝ่ายประกันคุณภาพการศึกษา
   ๐ ประวัติความเป็นมา
   ๐ นโยบาย, วัตถุประสงค์
   ๐ หน้าที่การปฎิบัติงาน
   ๐ แผนผังการบริหารงาน
   ๐ บุคคลากรฝ่ายประกันคุณภาพ
   ๐ ปฎิทินการดำเนินงาน
   ๐ แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษา
   ๐ ข้อมูลการประกันคุณภาพการศึกษา
   ๐ วิธีการประกันคุณภาพการศึกษา
มาตฐานการศึกษาเพื่อการประกันคุณภาพฯ
   ๐ ประกาศคณะกรรมการประกันคุณภาพภายในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
   ๐ ประกาศกระทรวงศึกษาธิการให้ใช้มาตฐานการศึกษาปฐมวัย
   ๐ ประกาศกระทรวงศึกษาธิการให้ใช้มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
   ๐ มาตราฐานการศึกษาของสถานศึกษา
บทความ
    ๐ แบบฟอร์มต่าง ๆ
    ๐ ระเบียบต่าง ๆ

<< เมษายน 2567 >>
อา. จ. อ. พ. พฤ. ศ. ส.
  1 2 3 4 5 6
7 8 9 10 11 12 13
14 15 16 17 18 19 20
21 22 23 24 25 26 27
28 29 30        

ข่าว - การประกันคุณภาพ
     ๐ ข่าวเด่น
     ๐ ข่าวประชาสัมพันธ์
     ๐ สรุปการประชุมประชำเดือน
     ๐ มาตรฐานการศึกษาเพื่อการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา


ขั้นตอนการประกันคุณภาพการศึกษา
 
การควบคุมคุณภาพ (Quality Control)
1.  ศึกษาและเตรียมการ
·       ตั้งคณะทำงานประกัน 
·       ให้ความรู้แก่บุคลากรทุกคน 
·       ตั้งคณะทำงานฝ่ายต่าง ๆ
2. วางแผนการประกันคุณภาพการศึกษา
·       กำหนดมาตรฐานคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
·       สร้างเครื่องมือประเมินคุณภาพตามมาตรฐาน
·       จัดทำสารสนเทศสภาพปัจจุบัน (ข้อมูลพื้นฐาน)
·       จัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีตามแผนยุทธศาสตร์ในธรรมนูญสถาน ศึกษา
·       จัดทำมาตรฐานการปฏิบัติงานต่าง ๆ ของสถานศึกษา
·       ประเมินสภาพปัจจุบันของสถานศึกษาตามมาตรฐาน
·       จัดทำธรรมนูญสถานศึกษาหรือแผนพัฒนาสถานศึกษา
3. ดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษาตามแผน
·       ปฏิบัติงานตามมาตรฐานการปฏิบัติงานของสถานศึกษา และตามแผนปฏิบัติการของสถานศึกษา
·       นิเทศ กำกับ ติดตามผลการดำเนินงานตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
 
การตรวจสอบ ทบทวน และปรับปรุงคุณภาพ    (Quality Audit)
4. ตรวจสอบ และทบทวนคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
·       แต่งตั้งกรรมการตรวจสอบ
·       กำหนดระยะเวลาและแนวทางการตรวจสอบ
·       ประเมินสภาพของสถานศึกษาตามมาตรฐานของสถานศึกษาครั้งที่ 2 หลังจากปฏิบัติงานไปได้ระยะเวลาหนึ่ง
·       จัดทำสารสนเทศแสดงผลการปฏิบัติงานตามตัวชี้วัดและเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
5. พัฒนาและปรับปรุงคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
      ·       ปรับปรุง แก้ไขการปฏิบัติงานที่ไม่เป็นไปตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
      ·       ติดตาม ตรวจสอบการแก้ไข ปรับปรุงการปฏิบัติงานที่ไม่เป็นไปตามมาตรฐานของสถานศึกษา
      ·       สรุปผลการตรวจสอบ จัดทำสารสนเทศ(ข้อมูลพื้นฐาน) ครั้งที่ 2 และรายงานการตรวจสอบการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
      ·       พัฒนาการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
 
การประเมิน (Quality Assessment)และรับรองคุณภาพ  (Quality Accreditation)
6. เตรียมการเพื่อรับการประเมินจากสำนักงานรับรองมาตรฐาน และประเมินคุณภาพการศึกษา
·       จัดเตรียมหลักฐาน และข้อมูลต่าง ๆ ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อรับการประเมินจากสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา
·       ถ้าได้รับการรับรอง และได้ใบรับรอง สถานศึกษารักษามาตรฐานคุณภาพให้คงไว้และรายงานผลการประเมิน
·       ถ้ายังไม่ได้รับการรับรอง สถานศึกษาปรับปรุงแก้ไข และขอรับการประเมินใหม่ ตามเวลาที่กำหนด
 
1.  ศึกษาและเตรียมการ
·       ตั้งคณะทำงานประกัน 
·       ให้ความรู้แก่บุคลากรทุกมนุษย์  
·       ตั้งคณะทำงานฝ่ายต่าง ๆ
2. วางแผนการประกันคุณภาพการศึกษา
·       กำหนดมาตรฐานคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
·       สร้างเครื่องมือประเมินคุณภาพตามมาตรฐาน
·       จัดทำสารสนเทศสภาพปัจจุบัน (ข้อมูลพื้นฐาน)
·       จัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีตามแผนยุทธศาสตร์ในธรรมนูญสถานศึกษา
·       จัดทำมาตรฐานการปฏิบัติงานต่าง ๆ ของสถานศึกษา
·       ประเมินสภาพปัจจุบันของสถานศึกษาตามมาตรฐาน
·       จัดทำธรรมนูญสถานศึกษาหรือแผนพัฒนาสถานศึกษา
3. ดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษาตามแผน
·       ปฏิบัติงานตามมาตรฐานการปฏิบัติงานของสถานศึกษา และตามแผนปฏิบัติการของสถานศึกษา
·       นิเทศ กำกับ ติดตามผลการดำเนินงานตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
 
การตรวจสอบ ทบทวน และปรับปรุงคุณภาพ    (Quality Audit)
4. ตรวจสอบ และทบทวนคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
·       แต่งตั้งกรรมการตรวจสอบ
·       กำหนดระยะเวลาและแนวทางการตรวจสอบ
·       ประเมินสภาพของสถานศึกษาตามมาตรฐานของสถานศึกษาครั้งที่ 2 หลังจากปฏิบัติงานไปได้ระยะเวลาหนึ่ง
·       จัดทำสารสนเทศแสดงผลการปฏิบัติงานตามตัวชี้วัดและเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
5. พัฒนาและปรับปรุงคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
      ·       ปรับปรุง แก้ไขการปฏิบัติงานที่ไม่เป็นไปตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
      ·       ติดตาม ตรวจสอบการแก้ไข ปรับปรุงการปฏิบัติงานที่ไม่เป็นไปตามมาตรฐานของสถานศึกษา
      ·       สรุปผลการตรวจสอบ จัดทำสารสนเทศ(ข้อมูลพื้นฐาน) ครั้งที่ 2 และรายงานการตรวจสอบการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
      ·       พัฒนาการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
 
การประเมิน (Quality Assessment)และรับรองคุณภาพ  (Quality Accreditation)
6. เตรียมการเพื่อรับการประเมินจากสำนักงานรับรองมาตรฐาน และประเมินคุณภาพการศึกษา
·       จัดเตรียมหลักฐาน และข้อมูลต่าง ๆ ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อรับการประเมินจากสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา
·       ถ้าได้รับการรับรอง และได้ใบรับรอง สถานศึกษารักษามาตรฐานคุณภาพให้คงไว้และรายงานผลการประเมิน
·       ถ้ายังไม่ได้รับการรับรอง สถานศึกษาปรับปรุงแก้ไข และขอรับการประเมินใหม่ ตามเวลาที่กำหนด
 


Link ที่เกี่ยวข้อง
    ๐ โรงเรียนดาราวิทยาลัย
   
๐ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ศธ
   
๐ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่เขต 1
  
๐ สพฐ.
  
๐ สมศ.
   ๐ สช.
   ๐ สำนักนายกรัฐมนตรี
:: Admin ::    

ฝ่ายประกันคุณภาพการศึกษาโรงเรียนดาราวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
196 ถ.แก้วนวรัฐ ต.วัดเกต อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50000
หมายเลขโทรศัพท์  053-241039  ต่อ  109  หมายเลขโทรสาร  053-249152